บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558
เรียนครั้งที่่ 15 เวลา 13.30-17.30 น.
- เพื่อนนำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ครู
เลขที่ 15 นำเสนอวิจัย
เลขที่ 24 นำเสนอวิจัย
เลขที่ 25 นำเสนอโทรทัศน์ครู
เลขที่ 15 นำเสนอวิจัย
- ชื่อวิจัย : ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
- ผู้วิจัย : สำรวย สุขชัย
- มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 24 นำเสนอวิจัย
ชื่อวิจัย : การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย- ผู้วิจัย : ชยุดา พยุงวงษ์
- มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ
เด็กปฐมวัยชาย – หญิงอายุระหว่าง 5 – 6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับสลากห้องเรียนและนักเรียน จำนวน 20 คน ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ จำนวน 32 ครั้ง วันละ 30 –45 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย และแบบทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ
เด็กปฐมวัยชาย – หญิงอายุระหว่าง 5 – 6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับสลากห้องเรียนและนักเรียน จำนวน 20 คน ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ จำนวน 32 ครั้ง วันละ 30 –45 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย และแบบทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
สรุปผลวิจัย
1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมในรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยมีคะเเนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมในรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยมีคะเเนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
2. ทักษะทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กฐมวัยโดยรวมและจำแนกรายด้านแตกต่างจากการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ
เลขที่ 25 นำเสนอโทรทัศน์ครู
- เรื่อง : สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติผสานวิถีพุทธ
- ตอนที่ 4 : นวัตกรรมมาทาลโปรแกรม
- โดย : คุณครูชลธิชา หงษ์ษา โรงเรียนสยามสามไตร
การนำหลักวิถีธรรมชาติประสานวิถีพุทธนำลงสู่ห้องเรียนของคุณครูชลธิชา ผ่านนวัตกรรมการสอนที่ชื่อว่า "มาทาลโปรแกรม" ซึ่งเป็นนวัตกรรมการสอนวิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ เด็ก ๆ จะได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านกิจกรรมการสร้างชุมชนในฝัน กิจกรรมนี้เด็กจะได้ทั้งทักษะการสังเกต และการเชื่อมโยงความรู้กับสิ่งที่อยู่รอบตัว จนสามารถสังเคราะห์ความรู้สร้างสรรค์ออกมาเป็นชิ้นงานของตนเองได้ในที่สุด
Skill (ทักษะ)
- ทักษะการฟัง
- ทักษะการตอบคำถาม
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการนำไปใช้
Application ( การประยุกต์ใช้)
นำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กได้มีการเรียนรู้ที่เข้าใจง่าย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง
Technical Education (เทคนิคการสอน)
- เชื่อมโยงหลักการทางวิทยาศาสตร์
- สรุปและยกตัวอย่างให้เข้าใจมากขึ้น
Evaluation (การประเมิน)
- Self : ตั้งใจเรียน แต่งกายสุภาพ ร่วมทำกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
- Friend : นำเสอนงานได้ดี ตั้งใจเรียน และช่วยกันตอบคำถาม
- Teacher : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีเสียงสูง ต่ำ ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้คำแนะนำที่ดีแก่นักศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น